ข้อมูลทั่วไปสกลนคร 

ชนเผ่าไทลาว

       ชนเผ่าไทลาว กลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว ถือเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มเก่าที่สุด อพยพเข้ามา ตั้งหลักแหล่งในแถบอีสาน โดยเฉพาะในจังหวัดสกลนครกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลาวจะเป็นการอพยพจากบริเวณเขตจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดกาฬสินธุ์ มหาสารคราม ยโสธร เข้ามาอาศัยอยู่ตามเขตพื้นที่ๆเป็นเนินสูง/ โน เป็นโคก และมีลุ่มน้ำไหลผ่าน เพื่อทำมาหากินกับการปลูกข้าวและหาอยู่หากินกับ

ชนเผ่าภูไท

       ชนเผ่าภูไท         คำว่า “ผู้ไทย” บางท่านมักเขียนว่า “ภูไท” ผู้ไทย คำว่าหรือ "พู้" เป็นสำเนียง ออกเสียงคำพูด ของคนภูไท แต่ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตเขียนว่า “ผู้ไทย”ถิ่นฐานดั้งเดิมชาวผู้ไทยอยู่ในแค้วนสิบสองจุไทย และแค้วนสิบสองปันนา(ดินแดนส่วนเหนือของลาว และเวียดนามซึ่งติดต่อกับดินแดนภาคใต้ของจีน) ราชอาณาจักรไทยได้สูญเสียดินแดนสิบสองจุไทยซึ่งอยู่ในเขตของลาวให้แก่ฝรั่งเศสเมื่อร.ศ.107

ชนเผ่าโย้ย

       ชนเผ่าโย้ย โย้ยเป็นอีกชนเผ่าหนึ่งของจังหวัดสกลนครที่มีรูปแบบวัฒนธรรมเป็นของตนเอง  เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่สามารถรักษาเอกลักษณ์ของกลุ่มตนได้อย่างดี  เช่น ภาษาพูดในกลุ่มของตนเอง  มีการพูดภาษาโย้ยภายในครอบครัว  การมีประเพณีการละเล่นเป็นของตนเอง  เช่น พิธีไหลฮ้านบูชาไฟ  การเล่นโย้ย กลองเลง  หรือการมีวัฒนธรรมทางสายน้ำในรูปการแข่งขันเรือยาวเป็นประจำทุกๆ ปี โย้ยเป็นชนเผ่าหนึ่งที่

ชนเผ่ากะเลิง

       ชนเผ่ากะเลิง       ชนเผ่ากะเลิง เป็นชาติพันธุ์หนึ่งในหลายๆ กลุ่ม ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสกลนคร มีประวัติความเป็นมาการเลือกหลักแหล่งทำมาหากิน วัฒนธรรม ความเชื่อ ตลอดจนภาษาพูดที่มีสำเนียงหรือถ้อยคำที่นิยมใช้กันเฉพาะในกลุ่มของตน ชนเผ่ากะเลิงเป็นกลุ่มที่ชอบอาศัยอยู่ในพื้นที่ราบสูง ตามไหล่เขาและเมื่อกลุ่มกะเลิงลงมาอยู่บนพื้นที่ราบประปนกับโย้ย ญ้อ ทำให้เกิดการรับวัฒนธรรมภาษาพูดในกลุ่ม ไทย-ลาว

ชนเผ่าโส้ (ไทโส้)

       ชนเผ่าโส้ (ไทโส้) ชนเผ่าโส้ (ไทโส้) คำว่า โส้ โซ่ หรือกะโซ่ เป็นคำที่เรียกชื่อชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในภาคอีสาน ชาวโส้จะมีลักษณะชาติพันธุ์ของมนุษย์ในกลุ่มมองโกลอยด์ ตระกูลออสโตร – เอเชียติก มอญ – เขมร เป็นกลุ่มเดียวกับพวกแสก และกะเลิง โดยจากบันทึกกรมพระยาดำรง ราชานุภาพเมื่อครั้งเสด็จตรวจราชการที่มณฑลอุดรและมณฑลอีสาน เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ อธิบายว่ากระโซ่ คือพวกข่าผิวคล้ำกว่าชาวเมืองอื่น

ชนเผ่าไทยย้อ

       ชนเผ่าไทยย้อ            ไทยย้อ เป็นชาวไทยในภาคอีสานอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งชอบเรียกตัวเองว่าเป็นชาวย้อ เช่น ชาวย้อในจังหวัดสกลนคร, ชาวย้อในจังหวัดกาฬสินธุ์ (ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย), ช้าวย้อในจังหวัดนครพนม (อำเภอท่าอุเทน) และชาวย้อในจังหวัดมุกดาหาร (ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง) ภาษาและสำเนียงชาวย้ออาจผิดเพี้ยนไปจากชาวอีสานบ้างเล็กน้อย ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อมีผู้ค้นพบว่าเดิมอยู่ในแคว้นส

ระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆ

       ระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆ อำเภอกุดบาก 56 กิโลเมตร อำเภอกุสุมาลย์ 40 กิโลเมตร อำเภอคำตากล้า 119 กิโลเมตร อำเภอนิคมน้ำอูน 77 กิโลเมตร อำเภอบ้านม่วง 124 กิโลเมตร อำเภอพรรณานิคม 41 กิโลเมตร อำเภอพังโคน 55 กิโลเมตร อำเภอสว่างแดนดิน 82 กิโลเมตร อำเภอวาริชภูมิ 71 กิโลเมตร อำเภอวานรนิวาส 85 กิโลเมตร อำเภอโคกศรีสุพรรณ 24 กิโลเมตร อำเภอเต่างอย 28 กิโลเมตร อำเภอส่องดาว 101 กิโลเมตร อำเภอ

ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสกลนคร

       ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสกลนคร สกลนคร เป็นเมืองพุทธศาสน์ พระธาตุห้าแห่ง แหล่งอารยธรรมสามพันปี ตามตำนานเล่าว่า เมืองหนองหานหลวงในอดีต หรือสกลนครในปัจจุบันนั้น สร้างขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 ในยุคที่ขอมมีอำนาจในดินแดนนี้ ต่อมาเมื่ออิทธิพลขอมเสื่อมลง เมืองหนองหานหลวงตกไปอยู่ในความปกครองของอาณาจักรล้านช้าง เรียกชื่อเมืองว่า “เมืองเชียงใหม่หนองหาน” และเมื่อมาอยู่ในความปกครองของไทย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เมือง

เที่ยวตามคำขวัญสกลนคร

       เที่ยวตามคำขวัญ : สกลนคร "พระธาตุเชิงชุมคู่บ้าน พระตำหนักภูพานคู่เมือง งามลือเลื่องหนองหาร แลตระการปราสาทผึ้ง สวยสุดซึ้งสาวภูไท ถิ่นมั่นในพุทธธรรม" ✨ พระธาตุเชิงชุมคู่บ้าน ✨ พระธาตุเชิงชุม เป็นพระธาตุเก่าแก่ สร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่นับเป็นปูชนียสถานสำคัญคู่บ้านคู่เมืองสกลนครมาแต่โบราณ ภายในประดิษฐานรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า 4 พระองค์ ภายในวิหารใกล้กับพระธาตุเชิงชุม

ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถีสกลนคร

       เป็นเมืองพุทธศาสน์ พระธาตุห้าแห่งแหล่งอารยธรรมสามพันปี ตามตํานานเล่าว่า เมืองหนองหานหลวงในอดีต หรือสกลนครในปัจจุบันนั้น สร้างขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 ในยุคที่ขอมมีอํานาจในดินแดนนี้ ต่อมาเมื่อ อิทธิพลขอมเสื่อมลง เมืองหนองหานหลวงตกไปอยู่ในความปกครองของ อาณาจักรล้านช้าง เรียกชื่อเมืองว่า “เมืองเชียงใหม่หนองหาน” และเมื่อ มาอยู่ในความปกครองของไทย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองสกลทวาปี” ต่อมา ในปี พ.ศ. 2373

เผ่าไทยอีสาน มุกดาหาร

       ไทยอีสาน     เป็นชาวไทยกลุ่มใหญ่ในจังหวัดมุกดาหาร เช่นเดียวกับชาวไทยอีสานในจังหวัดอื่น ๆ ในภาคอีสานอีกหลายจังหวัด ชาวไทยอีสานได้สืบเชื้อสาย ต่อเนื่องกันมานานนับหลายพันปี ตั้งแต่ขุนบรมปฐมวงศ์ของเผ่าไทย ตั้งแต่อาณาจักรน่านเจ้าอาณาจักรล้านช้างจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย ชาวไทยอีสานได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขงตั้งแต่ พ.ศ.2231 (สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) เมื่อท่านพระครูโพนเสม็กนำสานุศิษย์จากอาณาจั

ชาวข่า หรือ บรู เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในจังหวัดมุกดาหาร

       ข่า เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในจังหวัดมุกดาหาร ชาวข่ามีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในแขวงสุวรรณเขตแขวงสาลวัน และแขวงอัตปือ ของลาว ซึ่งเมื่อร้อยปีก่อน (ก่อน พ.ศ. 2436) ยังเป็นดินแดนของราชอาณาจักรไทยชาวข่า อพยพมาตั้งอยู่ในท้องที่จังหวัดมุกดาหาร ในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นส่วนมากนักมานุษยวิทยาถือว่า ชาวข่าเป็น ชนเผ่าหนึ่งในแถบลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งอาจสืบเชื้อสายมาจากขอมโบราณ ซึ่งเคยอยู่ในดินแดนของอาณาจักร เจนละซึ